Browsed by
Author: Suttawan B.

สารพัดพาชม: ตอน พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเมืองพีวอคี สหรัฐอเมริกา (Various things to see: The Local History Museum in Pewaukee, USA)

สารพัดพาชม: ตอน พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเมืองพีวอคี สหรัฐอเมริกา (Various things to see: The Local History Museum in Pewaukee, USA)

พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นบ้านคลาร์ก หรือ The Clark House Museum ประจำเมืองพีวอคี (Pewaukee) รัฐวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา เป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเล็กๆ ที่เก็บเรื่องราวประวัติศาสตร์ของการตั้งเมืองและการหาอยู่หากินของผู้คนเมืองพีวอคี
พิพิธภัณฑ์แห่งนี้มีการดูแลดีมากจากจิตอาสารุ่นพ่อแม่ปู่ย่าตายาย … Continue Reading

บุญผะเหวด: พิธีกรรมแบบอีสานและมงคลแห่ง “น้ำ” ในที่ราบสูงโคราช ณ วัดบ้านลาน ขอนแก่น

บุญผะเหวด: พิธีกรรมแบบอีสานและมงคลแห่ง “น้ำ” ในที่ราบสูงโคราช ณ วัดบ้านลาน ขอนแก่น

จากภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ทรงคุณค่าของวัดบ้านลาน จังหวัดขอนแก่น ซึ่งมีเรื่องราวของพระเวสสันดรชาดก พระชาติสุดท้ายที่บำเพ็ญบารมี ก่อนประสูติเป็นพระโคตมพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อยู่โดยรอบสิมหรืออุโบสถเก่าแบบอีสานพื้นบ้านโบราณ โดยเฉพาะผนังด้านทิศใต้ที่เน้นวาดภาพแห่ “ผะเหวด” หรือ “พระเวสสันดร” กลับเข้าเมือง และตอนดังกล่าวนี้เองที่สะท้อนให้เห็นความสำคัญของงานบุญผะเหวดหรือบุญพระเวสสันดรที่มีต่อชีวิตชาวอีสานใน “พื้นที่ราบสูงโคราช” … Continue Reading

รถไฟจากอีสาน สู่หนทางแห่งตะวันตก ณ บ้านอีต่อง เหมืองแร่ปิล๊อก กาญจนบุรี

รถไฟจากอีสาน สู่หนทางแห่งตะวันตก ณ บ้านอีต่อง เหมืองแร่ปิล๊อก กาญจนบุรี

เราใช้รถด่วน CNR ออกจาก “สถานีขอนแก่น” เวลาประมาณเกือบสี่ทุ่ม ถึงหัวลำโพงประมาณเกือบ 7 โมงเช้า แล้วนั่งแท็กซี่ไปต่อรถไฟอีกขบวนที่ “สถานีธนบุรี” (เป็นรถไฟสายธรรมดาชั้นสาม ต้องมาซื้อตั๋วรถไฟที่นี่ มีเวลา … Continue Reading

“ที่ราบสูงโคราช” แหล่งกำเนิดชีวิตของภาคอีสาน อธิบายพื้นที่ทางธรณีวิทยาโดยสังเขป

“ที่ราบสูงโคราช” แหล่งกำเนิดชีวิตของภาคอีสาน อธิบายพื้นที่ทางธรณีวิทยาโดยสังเขป

“ที่ราบสูงโคราช” เป็นมาอย่างไร

ข้อมูลจากสำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี กล่าวถึง ภาคอีสานตั้งอยู่บนที่ราบสูงที่เราเรียกกันว่า “ที่ราบสูงโคราช” ซึ่งมีลักษณะเป็นแอ่งกระทะหลายแอ่งและยังมีภูเขาทั้งขนาดใหญ่ขนาดย่อมลูกโดดๆ อีกหลายลูก ตามทฤษฏีแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ หรือ Plate tectonic … Continue Reading

เตรียมตัวอย่างไร เมื่ออยากไปทุ่งกะมัง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จ.ชัยภูมิ

เตรียมตัวอย่างไร เมื่ออยากไปทุ่งกะมัง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จ.ชัยภูมิ

ภูเขาหินทรายต้นกำเนิดของแม่น้ำชีลำน้ำสายใหญ่ที่ไหลผ่านหลายจังหวัดของภาคอีสานและเป็นบริเวณขอบของที่ราบสูงโคราชด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ เป็นที่ตั้งของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว หรือเรามักรู้จักกันในนามของ “ทุ่งกะมัง” เป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์และมีสัตว์ป่าอยู่เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะกวางและช้างที่หากินอยู่ตามธรรมชาติ และยังมีนกทั้งพื้นถิ่นและอพยพหลากหลายชนิด ทำให้ทุ่งกะมังเป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงสำหรับผู้ที่ชื่นชอบในการถ่ายภาพนกสวยงามได้ตลอดทั้งปี..

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว ทุ่งกะมัง ชัยภูมิ อีสาน เที่ยว

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว ธรรมชาติ ทุ่งกะมัง ชัยภูมิ อีสาน เที่ยว

ช่วงปลายฝนต้นหนาวยังเป็นช่วงที่ดี มีโอกาสถ่ายภาพของผีเสื้อสวยงามหลากหลายสายพันธุ์เป็นฝูงใหญ่ ซึ่งออกมาหากินเกลืออยู่ตามโป่งตามข้างถนนเป็นจำนวนมาก มีโอกาสเจอแลนหรือตะกวดอยู่ตามต้นไม้ รวมไปถึงตัวเงินตัวทองที่ออกมานอนผึ่งแดดใกล้กับหนองน้ำ … Continue Reading

“ฮีตสิบสองคองสิบสี่” ในจิตรกรรมชั้น 1 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

“ฮีตสิบสองคองสิบสี่” ในจิตรกรรมชั้น 1 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

ฮีต คือ “รีต” ในภาษาไทย (อีสานและลาวออกเสียง ร. เป็น ฮ.) หมายถึงประเพณีที่ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณ คอง คำศัพท์เดิมหมายถึง รอยที่เป็นทางยาว เช่น

Continue Reading
“บึงกาฬ” ณ ความหมาย “บึงกาน” มนต์แห่งการเปลี่ยนแปลง “ตัวสะกด”

“บึงกาฬ” ณ ความหมาย “บึงกาน” มนต์แห่งการเปลี่ยนแปลง “ตัวสะกด”

บึงกาฬแยกความหมายได้เป็นสองคำตามพจนานุกรมราชบัณฑิตสถาน คือ “บึง” หมายถึง แหล่งน้ำขนาดใหญ่ มีน้ำขังตลอดปี และ“กาฬ” แปลว่า “ดำ” กลายเป็น บึงที่มีน้ำสีดำ ก่อนหน้านั้นบึงกาฬยังเคยสะกดด้วยคำว่า “กาญจน์”

Continue Reading
จิตรกรรมฝาผนังชั้น 1 วัดหนองแวงพระอารามหลวง: ประวัติการสร้างเมืองขอนแก่น ศาสนสถานโบราณ และวิถีวัฒนธรรม

จิตรกรรมฝาผนังชั้น 1 วัดหนองแวงพระอารามหลวง: ประวัติการสร้างเมืองขอนแก่น ศาสนสถานโบราณ และวิถีวัฒนธรรม

จากจินตนาการเรื่องราวในอดีตของเมืองขอนแก่น ผสานเข้ากับสภาพภูมิประเทศ วิถีชีวิตของผู้คน ขนบธรรมเนียมและประเพณี ภูมิความรู้ในการหาอยู่หากินการดำรงชีพแบบดั้งเดิมของชาวอีสานโดยละเอียด ได้ถูกถ่ายทอดเพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าใจในบริบทของสังคมในยุคต่างๆ ได้ง่าย ทำให้ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ชั้น 1 อันทรงคุณค่าทั้งหมดกว่า 52 ภาพ (รวมภาพ

Continue Reading
“คะลำ” จิตรกรรมฝาผนังวัดหนองแวงพระอารามหลวง จังหวัดขอนแก่น

“คะลำ” จิตรกรรมฝาผนังวัดหนองแวงพระอารามหลวง จังหวัดขอนแก่น

คนสมัยใหม่หลายคนไม่รู้และก็ไม่ได้ยึดถือกฏเกณฑ์ “คะลำ” เหล่านี้แล้ว แต่ก็มีบางข้อที่มีผู้ปฏิบัติอยู่แม้ว่าจะดูล้าสมัย เช่น ไม่ให้ลับมีดตอนกลางคืน ด้วยเชื่อว่าชีวิตจะมีภัย จะโชคร้าย จะตาย เมียจะมีชู้ ฯลฯ คะลำข้อนี้มีผู้ให้เหตุผลว่า เมื่อก่อนไม่มีไฟฟ้าใช้

Continue Reading
เล่าเรื่องเมืองหนองคาย พ.ศ.2503 (ตอนที่ 2/2)

เล่าเรื่องเมืองหนองคาย พ.ศ.2503 (ตอนที่ 2/2)

…สกู๊ตเตอร์ มีสองยี่ห้อ คือ เวสป้า และแลมเบตต้า จากอิตาลีทั้งคู่  ทั้งหมดนี้นับคันได้ และชาวเมืองรู้ด้วยว่าเป็นรถของใคร มันน่าอิจฉาเวลารถจักรยานยนต์วิ่งผ่าน ขนาดไม่มีใครซิ่ง แต่ดูมันไม่เมื่อยขาเหมือนรถถีบ มีรถยนต์อยู่หลายคัน ส่วนมากเป็นของทางราชการ

Continue Reading
เล่าเรื่องเมืองหนองคาย พ.ศ.2503 (ตอนที่ 1/2)

เล่าเรื่องเมืองหนองคาย พ.ศ.2503 (ตอนที่ 1/2)

เรื่องเล่านี้มาจากไฟล์ที่คุณพ่อของข้าพเจ้าเขียนไว้ เพื่อบันทึกความทรงจำของตนเองและให้ลูกได้ใช้ในงานวิจัย ข้าพเจ้าเห็นว่าน่าจะเป็นประโยชน์และให้ความเพลิดเพลินต่อท่านผู้อ่าน ทำให้มองเห็นสภาพพื้นที่หนองคายสมัยก่อนและวิถีชีวิตของผู้คนในช่วงเวลานี้ได้ชัดเจนมากขึ้น จึงได้นำมาเผยแพร่ ซึ่งข้าพเจ้าได้ทำการแบ่งงานเขียนของคุณพ่อออกเป็นหลายตอนด้วยกัน เพื่ออ่านในเวปไซต์ได้ง่าย ความดีอันใดที่เกิดขึ้นจากงานชิ้นนี้ ขอให้กุศลนั้นได้ถึงคุณพ่อให้มีความสุขยิ่งๆ ขึ้นไป

….

เล่าเรื่องเมืองหนองคาย 2503

Continue Reading
ปลาแดก: ประวัติศาสตร์อีสานตอนบน เคล็ดลับและสูตรหมักปลาแดกโบราณ

ปลาแดก: ประวัติศาสตร์อีสานตอนบน เคล็ดลับและสูตรหมักปลาแดกโบราณ

ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนภาคอีสานกับปลาแดกหรือปลาร้า ช่างมีมาอย่างยาวนาน อาจกล่าวได้ว่า ผู้ที่ได้รสกลมกล่อมของปลาแดกนัวเข้าเส้นแล้ว ก็ยากที่จะถอนตัว แถมพอไม่ได้กินปลาแดกนานๆ จะพบว่าโลกนี้มันช่างหดหู่จริงๆ ปลาแดกคือจิตวิญญาณของชาวอีสานโดยแท้

หลายปีก่อนผู้เขียนกับพ่อและเพื่อนพ่อ ตั้งวงสนทนาร่วมกันว่าด้วยเรื่องการหาอยู่หากินที่กุดทิง จ.บึงกาฬ หรือ พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับโลกในตอนนี้ … Continue Reading

ศิลปะโดยรอบศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์บ้านโนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

ศิลปะโดยรอบศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์บ้านโนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

คณะผู้จัดทำได้รับความเมตตาจาก หลวงตาเกรียง หรือ พระมหาเกรียงศักดิ์ โสภากุล ดร. (ธรรมวิจาโร) ผู้เสียสละเวลาเป็นอย่างสูงในการอธิบายความหมายที่แฝงอยู่ในงานศิลปะและพระธรรมที่ซ่อนอยู่ในภาพเหล่านี้ และได้รับความเมตตาจาก หลวงตาปริศนา ผู้มอบหนังสือ “ไขปริศนาธรรม ภาพศาลาโพธิสาร … Continue Reading

เที่ยวไปกับพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับโลก “กุดทิง” บึงกาฬ ตอนที่ 1 เก็บของเตรียมตัวเดินทาง

เที่ยวไปกับพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับโลก “กุดทิง” บึงกาฬ ตอนที่ 1 เก็บของเตรียมตัวเดินทาง

เที่ยวพื้นที่ชุ่มน้ำโลกดียังไง?

คิดว่าหลายคนก็คงไม่รู้ว่าจะไปเที่ยวอะไรในแหล่งน้ำที่เขาให้ความสำคัญถึงระดับโลกในด้านทรัพยากรธรรมชาติ หรือมีอะไรเที่ยวที่นี่บ้าง ไปยังไงดี เที่ยวยังไงดี ส่วนมากในโบชัวร์ก็ไม่ชี้แจงแถลงไข อ่านไปเราก็เห็นแค่รายชื่อปลากับนก แถมตอนไปเห็นนี่แทบจะมองไม่ทันว่ามันคือนกอะไรปลาอะไร ภูเขาสวยๆ หรือ กิจกรรมตกหมึกอย่างแถวทะเลก็หามีไม่ จะมีก็แต่นั่งเรือหางยาวๆ ติดเครื่องยนต์ … Continue Reading

ภาพสัตว์ในสิมอีสาน วัดยางทวงวราราม(วัดบ้านยาง) มหาสารคาม

ภาพสัตว์ในสิมอีสาน วัดยางทวงวราราม(วัดบ้านยาง) มหาสารคาม

วัดยางทวงวราราม หรือ วัดบ้านยาง อ.บรบือ มหาสารคาม ผู้เขียนสนใจนำเสนอในส่วนของภาพวาด “สัตว์ในสิม” ซึ่งน่าสนใจมาก ถือว่าเป็นวัดหนึ่งที่มีสิมมีภาพสัตว์ป่าในธรรมชาติรอบตัวในขณะนั้นของหมู่บ้านได้อย่างละเอียดกระทั่งสายพันธุ์สัตว์ ทั้ง เก้ง กวาง เสือ … Continue Reading